DIY Soldering Station HAKKO T12 Clone

โครงงานหัวแร้งปรับอุณหภูมิได้แบบดิจิตอลที่เราสามารถประกอบขึ้นมาใช้เอง ตัวควบคุมจะเป็นชุดเสมือน HAKKO T12 โดยใช้แหล่งจ่ายไฟเลี้ยงขนาด 24V/2A

Active Power Factor Correction by UCC3818N

โครงงานนี้จะเป็นการทดลองต่อวงจร Active Power Factor Correction : APFC ด้วยไอซีควบคุมเบอร์ UCC3818N ซึ่งเป็นไอซีที่สามารถหาซื้อได้ง่าย ราคาไม่สูงมากนัก และหาข้อมูลได้ง่าย

การตรวจจับกระแสไฟฟ้าเบื้องต้น (Basic Current Sense)

การตรวจจับกระแส (Current Sense) ไฟฟ้าสำหรับในวงจรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์นั้น เป็นสิ่งหนึ่งที่สำคัญมาก ทั้งนี้ปริมาณการไหลของกระแสไฟฟ้าที่มากเกินกว่าปกติ จะเป็นผลอันตรายต่อวงจรและระบบได้ครับ

การตรวจจับกระแสไฟฟ้าแบบกระแสตรง (DC Current sensor)

การตรวจจับกระแสไฟฟ้าในลักษณะของกระแสตรง (DC Current sensor) นั้น ส่วนใหญ่จะพบกันมากในวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งโดยทั่วไปในกรณีที่เราตรวจจับกระแสไม่สูงนักก็จะใช้ตัวต้านทานค่าต่ำปกติ แต่ในกรณีที่กระแสสูงนั้นก็จะเป็นอุปกรณ์อื่นแทน จะมีอะไรบ้างนั้นลองอ่านบทความนี้ครับ

การตรวจจับกระแสไฟฟ้าแบบกระแสสลับ (AC Current sensor)

การตรวจจับกระแสไฟฟ้าแบบสลับ (AC Current sensor) เป็นอีกเรื่องหนึ่งที่เราจะต้องเกี่ยวข้องสำหรับในการออกแบบวงจรสำหรับการประยุกต์ใช้งาน โดยทั่วไปตัวอุปกรณ์ที่ใช้ในการตรวจจับกระแสไฟฟ้าแบบนี้จะใช้วงจรที่ง่ายและราคาถูก

Easy Blynk Application Control by NodeMCU ESP32 Devkit

บทความนี้เป็นการนำเสนอเกี่ยวกับการใช้แอพพลิเคชั่น Blynk ร่วมกับ NodeMCU ESP32 Devkit สำหรับควบคุมการทำงานอุปกรณ์หรือเครื่องใช้ไฟฟ้าผ่านอินเตอร์เน็ต เพื่อเกาะกระแสในยุค Internet of Things