Basics Bridgeless-PFC Topologies Boost converter

สำหรับบทความ Basic Bridgeless-PFC Topologies Boost converter นำเสนอแนวความคิดเบื้องต้น ของการทำงานวงจรปรับค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้าแบบไม่ใช้ไดโอดบริด์จ ซึ่งเป็นวงจรที่นิยมใช้งานกันครับ.

Active Power Factor Correction by Using UC3854

สำหรับโครงงานนี้เป็นอีกหนึ่งโครงงานเกี่ยวกับ Active Power Factor Correction : APFC ซึ่งได้ทดลองไว้ค่อนข้างนานแล้ว โดยโครงงานเดิมจะใช้ตัวควบคุมเบอร์ UCC3818N แต่สำหรับโครงงานนี้จะใช้เบอร์ UC3854 กันบ้างครับ

Basic Synchronous Boost Converter

โครงงานนี้เป็นอีกโครงงานหนึ่งเกี่ยวกับวงจรดีซี ทู ดีซี (DC to DC) แบบพื้นฐานและเข้าใจการทำงานได้ง่าย โดยโครงสร้างหลักๆ แล้ว จะเป็นวงจร Boost Converter แต่จะใช้เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานให้สูงขึ้นด้วยการซิงโครนัสเร็กติไฟ (Synchronous Rectifier : SR) และใช้ตัวประมวลผล Arduino UNO

Mini DC-DC Boost Converter 20W by using Arduino UNO

สำหรับก่อนหน้านี้เคยทดลองวงจรบักคอนเวอร์เตอร์ (Buck Converter) ไปบ้างแล้ว วันนี้จะขอนำเสนอ ดีซี ทู ดีซี (DC to DC) แบบบูทคอนเวอร์เตอร์ (Boost Converter) กันบ้างนะครับ โดยในโครงงานนี้จะใช้บอร์ด Arduino UNO เป็นตัวประมวลผลสัญญาณทั้งหมด

Simply use 2 transistors for the DC power supply circuit

สำหรับบทความนี้จะเป็นการนำเสนอวงจรเพาเวอร์ซัพพลายอีกแบบหนึ่ง ที่วงจรเข้าใจง่ายและใช้อุปกรณ์ไม่มากนัก สามารถควบคุมค่าแรงดันคงที่เอาต์พุตได้ และจำกัดกระแสให้โหลดของเราได้ตามที่ต้องการ ซึ่งจุดเด่นสำคัญคือใช้ทรานซิสเตอร์ 2 ตัว และไม่ใช้ตัวต้านทานตรวจจับกระแส

Inside a small electric inverter welding machine

สั่งซื้อตู้เชื่อมไฟฟ้าแบบอินเวอร์เตอร์ ขนาดเล็ก เพื่อศึกษาหาความรู้ถึงการทำงานของเครื่อง การเลือกใช้อุปกรณ์ เทคนิคการออกแบบ การใช้งานและการทำงานของตัวเครื่องในฟังก์ชั่นต่างๆ

Simple Flyback Converter SMPSU 24W

วงจรสวิตชิ่งเพาเวอร์ซัพพลายนี้น่าสนใจเลยนำมาแชร์และมาทดลองต่อวงจรนี้กันว่าคุณภาพเป็นอย่างไร ซึ่งเป็นชนิดไฟร์แบกคอนเวอร์เตอร์ (Flyback SMPSU) แบบออสซิลเลตในตัวเอง ขนาด 24 วัตต์ รับแรงดันอินพุต AC ช่วง 110V-230V และจ่ายแรงดันเอาต์พุตประมาณ 12V ที่กระแส 2A