บทความนี้นำเสนอวงจรอินเวอร์เตอร์ (Inverter) ด้วยการศึกษาจากสินค้าที่มีจำหน่ายทั่วไป นำมาอธิบายและทดสอบสัญญาณเบื้องต้นครับ
มาดูบอร์ดสวิตชิ่งเพาเวอร์ซัพพลายขนาดเล็ก แบบฟายแบกคอนเวอร์เตอร์ (Flyback Converter) ใช้ไอซีเบอร์ OB2263 เป็นตัวควบคุมกันต่อนะครับ.
บทความนี้เป็นการนำเสนอการทำงานของวงจรภายในบอร์ดสวิตชิ่งเพาเวอร์ซัพพลายทีวี (Flyback Converter for Power Switching Panel TV) อีก 1 แบบครับ.
ทำความรู้จักเบื้องต้นกับไอซี FAN7842 สำหรับขับสัญญาณให้กับอุปกรณ์สวิตช์ขับกำลังต่างๆ เช่น เพาเวอร์มอสเฟตและไอจีบีที เป็นต้น ซึ่งสามารถใช้ได้กับฮาร์ฟบริดจ์ คอนเวอร์เตอร์ (Half-Bridge) มีวงจรสำหรับขับสัญญาณแบบลอย (Floating channels) และสามารถใช้งานที่แรงดันสูงถึง 200V
สำหรับบทความ Basic Bridgeless-PFC Topologies Boost converter นำเสนอแนวความคิดเบื้องต้น ของการทำงานวงจรปรับค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้าแบบไม่ใช้ไดโอดบริด์จ ซึ่งเป็นวงจรที่นิยมใช้งานกันครับ.
สำหรับโครงงานนี้เป็นอีกหนึ่งโครงงานเกี่ยวกับ Active Power Factor Correction : APFC ซึ่งได้ทดลองไว้ค่อนข้างนานแล้ว โดยโครงงานเดิมจะใช้ตัวควบคุมเบอร์ UCC3818N แต่สำหรับโครงงานนี้จะใช้เบอร์ UC3854 กันบ้างครับ
โครงงานนี้เป็นอีกโครงงานหนึ่งเกี่ยวกับวงจรดีซี ทู ดีซี (DC to DC) แบบพื้นฐานและเข้าใจการทำงานได้ง่าย โดยโครงสร้างหลักๆ แล้ว จะเป็นวงจร Boost Converter แต่จะใช้เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานให้สูงขึ้นด้วยการซิงโครนัสเร็กติไฟ (Synchronous Rectifier : SR) และใช้ตัวประมวลผล Arduino UNO